ร้อยเรื่อง...ร้อยใจไทยมุสลิม ตอน 10 “เรียนรู้อดีต กำหนดปัจจุบัน วาดฝันอนาคต”
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ เริ่มก่อร่างสร้างองค์กรในรูปแบบห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ขนาดเล็ก ในคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ อ่านต่อ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ เริ่มก่อร่างสร้างองค์กรในรูปแบบห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ขนาดเล็ก ในคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ อ่านต่อ
เมื่อครั้งที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการประกาศเกียรติคุณว่า คือ สถาบันด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาลแห่งแรก ที่ถือกำเนิดขึ้นมา นายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซียมอบ “รางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยมด้านอุตสาหกรรมฮาลาล” ในงานประชุมฮาลาลโลก.... อ่านต่อ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล, ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลจุฬาฯ,ประวัติ อ่านต่อ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำหนดพันธกิจขององค์กรไว้ 4 ประการ คือ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฮาลาล เพื่อใช้ในการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนสิ่งต้องห้ามทางศาสนาอิสลาม อ่านต่อ
ด้วยประสบการณ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานฮาลาลอันหลากหลายของ รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน นับแต่งานการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ งานการจัดทำมาตรฐาน ไปจนถึงงานพัฒนาระบบมาตรฐานฮาลาล ส่งผลให้งานวิทยาศาสตร์ฮาลาลด้านต่าง ๆ พัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบ... อ่านต่อ
ในการก่อตั้งหน่วยงานภายในองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชนเกือบทั้งหมด ล้วนแล้วแต่จัดตั้งฝ่ายบริหารในลักษณะจากบนลงล่าง (top down) ทั้งสิ้น หน่วยงานเหล่านี้จึงมีจุดกำเนิดที่ชัดเจน โดยเฉพาะวันสถาปนาที่คล้ายวันก่อกำเนิดของหน่วยงาน ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมฉลอง และร่วมรำลึกถึงได้ อ่านต่อ
ก่อนที่จะย้ายบ้านจากอาคารจุฬาพัฒน์ 6 ซอยจุฬาลงกรณ์ 12 ข้ามฟากมายัง อาคารวิจัยจุฬาลงกรณ์ ชั้นที่ 11 , 12 และ 13 อ่านต่อ
เพื่อไขข้อข้องใจให้สังคมมุสลิมชัดเจนว่า “มุสลิมบริโภคก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ได้หรือไม่?” ผศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน (ตำแหน่งนักวิชาการในขณะนั้น) ตัดสินใจจัดตั้ง “ศูนย์วิจัยไขมันและน้ำมัน” อ่านต่อ
เคยเจอคนตั้งคำถามสารพัด เช่น ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ฯ จุฬาฯ ตั้งขึ้นมาทำไม? ไม่มีได้มั้ย ? สมัยที่ไม่มีศูนย์ ฯ ยังอยู่กันได้เลย และอื่นๆ อีกมากมาย..... อ่านต่อ
คุณรู้มั้ย? ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลจุฬาฯ เกิดขึ้นได้อย่างไร?... อ่านต่อ